วันอังคารที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2555

วันที่ 9 กรกฎาคม 2555

ความหมายของคอมพิวเตอร์          

               คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วย คำสั่ง ชุดทำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆ สามารถเชื่อมต่อกับเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ  ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์คือ มีศักยภาพสูงในการประมวลผลและคำนวณ ที่มีข้อมูลที่เป็นตัวเลข และรูปภาพ ตัวอักษรและเสียง

ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์

      คอมพิวเตอร์ฮาดร์แวร์ หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย 5 ส่วนคือ

1. หน่วยรับข้อมูลเข้า( Input Unit ) ทำหน้าที่ป้อนสัญญาณเข้าสู่ระบบเพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามต้องกา
               -แป้นอักขระ  Keyboard 
               -แผ่นซีดี  CD-Rom
               -ไมโครโพน Mierophone เป็นต้น   

2. หน่วยประมวลผลกลาง CPU (Central Processing Unit)   ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวนที่ทำทางตรรกะและคณิตศาสตร์  รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ  รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ

3. หน่วยความจำ ( Memory Unit )  ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลว่าหน่วยประมวลผลกลางและเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผลแล้วเตรียมส่งไปย้ายหน่วยแสดงผล

4. หน่วยแสดงผล ( Output Unit ) ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ดำเนินการประมวลผล หรือผ่านการคำนวลแล้ว


5. อุปกรณต่อฟังก์ชั่น ( Peripheral Equipment )   เป็นอุปปกรณ์ที่นำมาต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้นเช่น โมเดิม (Modem)  แผงวงจรเชื่อมต่อกับเครือข่าย เป็นต้น


ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
                 1. มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้รวดเร็วเพียงชั่ววินาที จึงใช้งานได้สดวกรวกเร็ว
                 2. มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง
                 3. มีความถูกต้องแม่นยำ
                 4. เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร
                 5. สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีก้ครื่องหนึ่งได้

ระบบคอมพิวเตอร์
         
ระบบคอมพิวเตอร์ หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆ กับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช่งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี  ระบบทะเบียนราษฎร์    
       การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้สามารถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
           1. ฮาร์ดแวร์ ( Hardware )           2. ซอฟแวร์  ( Software )           3. ข้อมูล ( Data )           4. บุคคลากร  ( People )

วันที่ 2 กรกฎาคม 2555

การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ

การใช้ระบบสารนสนเทศเพื่อการค้นหา หรือดึงข้อมูลสารสนเทศเฉพาะเรื่องที่ผู้ใช้ระบบ แหล่งรวบรวมสารสนเทศไว้เป็นจำนวนมาก เพื่อประโยชน์ด้าน ต่างๆ เช่น การศึกษา เป็นต้น

วัตถุประสงค์ในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
1. เพื่อทราบถึงรายละเอียดของข้อมูล
2. เพื่อเพิ่มประสิทธิในการศึกษาหรือการทำงาน
3. เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้กับตนเองและผู้อื่น
4. เพื่อตรวจสอบข้อมูล

 

Search Engine

Serach Engine หมายถึง เครื่องมือหรือเว็บไชต์ที่อำนวยความสะดวกในการสืบค้นข้อมูล และข่าวสารให้แก่ผู้ใช้อินเตอร์เน็ต จากแหล่งข้อมูลเว็บไซต์ ต่างๆ ในระบบเครือข่าย เพื่อให้ได้มาซึ่งขข้อมูลที่ต้องการ

ประเภทของ Serach Engine  แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1.  อินเด็กเซอร์ Indexers การทำงานจะเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ที่อยู่กระจัดกระจายบนอินเตอร์เน็ต ไม่มีการแสดงข้อมูลออกมาเป็นลำดับขั้นตอนของความสำคัญ การใช้งานจะเหมือนกับการสืบค้นข้อมูล
2.  ไดเด็กทรอรี่  การค้นหาข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบร้อยมากกว่าการสืบค้น อินเด็กเซอร์ โดยข้อมูลจะถูกคัดแยกออกมาเป็นหมวดหมู่ และจัดแบ่งเว็บต่างๆ ออกเป็นประเภท  yahoo.com , looksmart.com , lycas.com , galaxy.com , askyjeeves.com , siamguru.com
3. เมตะเสิซ์  จะใช้หลายๆ วิธีการมาช่วยในการค้นหาข้อมูล โยจะรับคำสั่งค้นหาจากเรา แล้วส่งต่อไปยังเว็บไชต์ ที่เป็นหลายๆ อย่าง

ประโยชน์    
ใช้ค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้สดวก และรวดเร็ว และถูกต้อง และหาข้อมูลแบบเจาะลึกได้

เทคนิคการสืบค้นข้อมูล

1. บีบประเด็นให้แคบลง
2. ใช้คำทีใกล้เคียง
3. การใช้หลัก Kyword
4. หลีกเลี่ยงการใช้ตัวเลข
5. การใช้เครื่องหมายบวก และลบช่วย
6. หลีกเลี่ยงภาษาพูด
7.ใช้ Advanced Search

การสืบค้นโดยใช้ตรรกบุลีน  Boolean Word Search

AND  เป็นการเชื่อมคำเพื่อจำกัดการสืบค้นให้แคบลงด้วยการวาง AND ไว้ระหว่างคำ 2 คำ หรือการไม่ใส่ตัวเชื่อมใดๆ ระหว่างคำในโปรแกรม INNOPAC ก็จะมีความหมายเช่นเดียวกัน

OR  เป็นการเชื่อมคำเพื่อขยายการค้นไปยังคำอื่นๆ ที่กำหนดหรือต้องการผลการค้นจากคำทั้ง 2 เช่น digital colleotion or digitai library

NOT  เป็นการเชื่อมคำเพื่อจำกัดการค้นให้แคบลงโดยแจ้ให้ระบบทราบว่าไม่ต้องการคำที่อยู่ตามหลัง NOT  เช่น Unios not credit not monetary


ลำดับการค้นที่มีการใช้คำเชื่อม

1. ระบบจะค้นคำที่มีอยู่ในวงเล็บก่อน
2. จากนั้นจึงดำเนินการค้นหาทุกคำที่อยู่หลัง not
3. ลำดับต่อไปจะค้นหาคำที่อยู่ระหว่าง AND ทั้งหมด รวมถึงคำที่อยู่ใกล้กันแต่ไม่มี AND เชื่อมด้วย
4. ขั้นสุดท้ายจึงจะทำการค้นหาคำที่อยู่ระหว่าง OR ทั้งหมด

ตัวอย่างเว็บไชต์ที่ให้บริการไดเร็กทรอรี่
-http:www.yahoo.com
-http:www.askjeeves.om
-http:www.looksmart.com
-http:www.lycos.com
-http:www.galaxy.com
-http:www.siamguru.com
ตัวอย่างของเว็บไชต์ที่ให้บริการด้วยเมตะเสิรซ์
-http:www.dogpile.com
-http:www.profusion.com
-http:www.metacrawler.com
-http:www.highway61.com
-http:www.thaifind.com

วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2555

วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2555

หน่วยที่ 5  โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์    

           ระบบ Network และ Internet   (06/08/55)


                    โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้

การทำงานของระบบ Network และ Internet  
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
       1. เครือข่ายเฉพาะที่ ( Local Area Network : LAN ) เป็นเครือข่ายที่มักพบในองค์กรโดนส่วนใหญ่ ลักษณะการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง LAN จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆ กัน เช่น อยู่ภายในอาคาร หรือ หน่วยงานเดียวกัน
        2. เครือข่ายการเมือง  ( Metropolitan Area Network : MAN )  เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อยมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภายในบรเวณพื้นที่ใกล้เคียง เช่นในเมืองเดียวกันเป็นต้น
        3. เครือข่ายบริเวณกว้าง  ( Wide Area Network : WAN )  เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับโดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง  LAN และ MAN มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน ดังนั้นเครือข่ายนี้ จึงครอบคลุมพื้นที่กว้าง โดยมีการครอบคลุมไปทั่วประเทศ หรือทั่วโลก เช่น  อินเตอร์เน็ต ซึ่งถือเป็นเครื่อข่ายสาธารณะที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ

    รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย Network Topology
           การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์ และการเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย รวมถึงหลักการไหลเวียนข้มูลในเครือข่ายด้วย โดย แบ่งโครงสร้างเครือข่ายหลักได้ 4 แบบ คือ 
                                       
        1. แบบดาว ( Star Network  )  เป็นการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆ  มาต่อรวมกันเป็นหน่วยสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดดต่อผ่สนทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกัยศูนย์กลาง
                    ลักษณะการทำงาน 
เป็นการเชื่อมโยงสื่อสารคล้ายดาวหลายแฉก  โดยมีสถานีกลาง หรือฮับ เป็นจุดผ่านการติดต่อ กันทุกโหนดในเครือข่าย สถานีกลางจึงมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด  และยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจัดส่งข้อมูลให้กับโหนดปลายทางอีกด้วย   การสื่อสารจัดเป็น 2 ทิศทางโดยจะอณุญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายได้ จึงไม้มีโอกาศที่หลายๆ โหนดจะส่งข้อมูลเข่าสู่เครือข่ายในเวลาเดียวกัน เพื่อป้องกันการชนกันของสัณญาณข้อมูล  เครือข่ายแบบบดาว เป็นรูปแบบเครือข่ายหนึ่งที่เป็นที่นิยมกันในปัจจุบัน





          2.  แบบวงแหวน  ( Ring  Network  )                 เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับเครือข่ายสัญญารของตัวเองโดยจะมีการเชื่อมโยง ของสัญญาณของทุกสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน เครือข่านสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่มนการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเอง หรือจากเครือข่ายสัญญาณตัวก่อนหน้า และส่งข้อมูลต่อไปยังเครือข่ายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อยๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด



              

3.เครือข่ายแบบบัส  ( Bus Network )   เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่ยๆๆ โดยจะมีอุปกรณืที่เป็นตัวเชื่อมต่ออุปกรณืเข้ากับสายเคเบิล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้ จะต้องกำหนดวิธี  ที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกัน  เพราะจะทำให้ข้อมูลชนกันลา หรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่ สัญญาณที่แตกต่างกัน ในการติดตั้งเครือข่ายแบบบัสนี้ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์แต่ละชนิด ถ฿กเชื่อมต่อมต่อด้วยสายเคเบิ้ลเพียงเส้นเดียว
   อุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนด ในเครือข่ายต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียก ว่า   บัศ   BUS   เมื่อโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปให้ยังอีกโหนดหนึ่ง ภายในเครือข่าย  จะต้องตรวจสอบว่าบัสง่างหรืไม่  ข้อมูลจะวิ่งผ่านโหนดไปเรื่อยๆๆ ในขณะที่แต่ละโหนดก็จะตรวจสอบว่าเป็นว่าเป็นของตนเองหรืไม่หากไม่ใช่ก็จะปล่อยให้วิ่งไปเรื่อยๆๆ
                 
             


                4.เครือข่ายแบบต้นไม้  ( Tree  Network ) เป็นเครือข่ายที่มีการผสมผสานโครงสร้างเครือข่ายแบบต่างๆ เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงได้ทุกสถานี  การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆ ได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม รับส่งข้อมูลเดียวกัน





การประยุกต์ใช้งานของระบบคอมพิวเตอร์
         ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสาร และการแบ่งปันการใช้ทรัพยากรระหว่างเครือข่าย รูปแบบการใช้งาน  แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1. ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง  ( Centrallised   Network )
2.ระบบเครือข่ายแบบ  ( Pee-to Pee)
3. ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server

1. ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง  ( Centrallised   Network  )  เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล ตั้งอยู่ที่ศูนย์กลาง และมีการรรเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆ ใช้การเดินสายเคเบิ้ล เชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเทอร์มินนอลสมารถสเข้าใช้งานโดยคำสั่งต่าง มาประมวลผลที่เครื่องกลาง ซึ่งมักเป็นเครืองคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง

2.ระบบเครือข่ายแบบ  ( Pee-to Pee  )   แต่ละสถานีงานบนระบบเครือข่ายสถานีเจะเท่าเทียมกัน สามรถที่จะแบ่งบันทรัพยากรให้แก้กันและกันได้ เช้นการใช้เครื่องพิมพ์ หรือ แฟ้มข้อมูลร้วมกันในเครือข่ายนั้นๆ  เครื่องแต่ละเคื่องมีขีด และความสารถได้ด้วยตนเอง  คือจะมีทรัพยากรภายในตัเอง เช่น ดิสก์สำหลับเก็บข้อมูล หน่วยความจำที่เพียงพอ
3. ระบบเครือข่ายแบบ ( Client/Server  ) สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และสามรถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายสถานี ทำง่นโดยมีเครื่อง Server ที่ให้บริการเป็นศูนย์กลางอย่างน้อย 1 เครื่อง และมีการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ จากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง  แต่สิ่งที่แตกต่างกันคือ  เครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการในระบบ Client/Server ราคาไม่แพงมากนัก  ซึ่งอาจใช้เพียงเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ สมถนะสูงในการควบคุมการให้บริการ ทรัพยากรต่างๆ 
   นอกจากนี้เครื่องลูกข่ายยังจะต้องมีความสามรถในการประมงลผล และมีพื้นที่สำหลับเก็บข้อมูลท้องถิ่นเป็นของตัวเอง

             ระบบเครื่อข่ายแบบClient/Server เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่น สนับสนุนการทำงานแบบ Multiprocessor  สามารถเพิ่มขยายขนาดของจำนวนผู้ใช้ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวนเครื่องได้
วันที่ 30 /07/2555

ซอฟต์แวร์ประยุกต์  (Application Software)


2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

           ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น

ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์

แบ่งตามลักษณะการผลิด  จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ 
1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software)
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ packaged  Software และโปรแกรมมาตรฐาน (Standard Package)
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
 แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน  จำแนกออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้
 1. กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ Business
2. กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย  Graphic and Multimedia
3. กลุ่มการใช้งานบนเว็บ wed

กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ Business
        ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังในด้านการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร การนำเสนองาน และการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น

-โปรแกรมประมวลผลคำ อาทิ Microsoft Word , Sun Star Office Writer
-โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ  Microsoft Excel , Sun  Star Office Cals
-โปรแกรมนำเสนอ อาทิ Microsoft  PowerPoint,  Sun  Star Office Impress

กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย  Graphic and Multimedia
       ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช้วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดีย  เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดภาพ ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว และการสร้างและออกแบบเว็บไซต์  ตัวอย่างเช่น

-โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio  , Professional
-โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ  Corel IDRAW, Adobe Photoshop
-โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ และเสียง อาทิ  Adobe Premiere, Pinnacie Studio DV
-โปรแกรมสร้างสือมัลติมีเดีย  อาทิ Adobe Authorware , Toolbook Instructor. Adobe Director
-โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash, Adobe  Dreamweaver

 กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
      เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่นโปรแกรมการตรวจเซ็คอีเมล  การท่องเว็บ การจัดการการดูแลเว็บ การส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างเช่น

-โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft Dutlook, Mozzila THunderdird
-โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer, Mozzila Firefox
-โปแกรม ประชุมทางไกล ( Video Confernce) อาทิ Microsoft Netmeeting
-โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Internet  Messaging) อาทิ MSN  Messager/ Windows Messager, ICQ
-โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ  PIRCH , MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์

            การใช้ภษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้ จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอั้กษรื เป็นประโยคข้อความ  ภาษาในลักษณะดังกล่าว นี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดัยสูง     ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความหมายเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
           เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง
      ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว  เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฎิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า  ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ ในแต่ละยุค ประกอบด้วย
   ภาษาเครื่อง  
      เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบตัวเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่ง และใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ ว่า ภาษาเครื่อง
          การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก  เพราะเข้าใจ และจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาเครื่องขึ้น

ภาษาแอสเซมบลี
    เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่  2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี ช่วยลดความยุ่งยากในการเขียโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพืวเตอร์
      แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลี ก็ยังมีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษา ที่เรียกว่า ภาษาแอสเซมเลอร์

  ภาษาระดับสูง   ( High-Level Languages )
    เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3  เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า   Statements  ที่มีลักษณะที่เป็นประโยคภาษาอังกฤษ  ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุด คำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น  ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้ และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงกับภาษามนุษย์  ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้น มีอยู่ 2 ชนิด คือ
คอมไพเลอร์  ( Compiler ) และ   อินเทอร์พรีเตอร์   ( Interpreter )


คอมไพเลอ  จะทำการแปลโปแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้งจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น

อินเตอร์พรีเตอร์   จะทำการแปลทีละคำสั่งบ  แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป

    ข้อแตกต่าง   คอมไพเลอร์ กับอินเตอร์พรีเตอร์ จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรม หรือแปลทีละคำสั่ง

วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2555

วันที่ 25 มิถุนายน 2555

รูปแบบการใช้เทคโนโลยีในปัจจุบัน

รูปแบบการใช้เทคโนโลยีในปัจจุบัน แบ่งเป็น 6 รูปแบบ ดังนี้
1.  เทคโนโลยีการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียม ภาพถ่ายทางอากาศ กล้องดิจิตอล กล้องถ่ายรูป วีดีทัศน์ เครื่องเอ็กซ์เรย์
2.  เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล เป็นสื่อบันทึกต่างๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก  จานแสง หรือจานเลเซอร์ บัตรเอทีเอ็ม    
  
ATM   ย่อมาจาก   A : Automatic    T : Teller     M : Machine

3. เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่เทนโนโลยีคอมพิวเตอร์ ทั้งฮาร์แวร์ และ ซอฟต์ แวร์
4. เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล
5. เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องถ่ายไมโครฟิล์ม
6. เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอด หรือ สื่อสารข้อมูล ได้แก่ โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง โทรเลข และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทั้งระยะไกล และระยะใกล้

   การนำเอเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งในด้านธุรกิจ และทางการศึกษา
  พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ อะไร
   การแสดงทางความคิดและความรู้ในการใช้รูปแบบของเทคโนโลยีทุกประเภท ที่นำมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้างและเผยแผ่ สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ได้แห่ ภาพ ข้อความ หรือตัวอักษร และตัวเลข และภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
     การใช้อินเตอร์เน็ต ของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้เพื่อความบันเทิง เนื่องจากมีความสดวกในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น ในขณะการใช้อินเตอร์เน็ตของนักศึกษาส่วนใหญ่ใช้ค้นหาความรู้
      นักศึกษาใช้อินเตอร์เน็ตในการทำอะไรบ้าง
      นักศึกษาใข้ในการสนทนากับเพื่อนๆ และการค้นหาข้อมูลจากห้องสมุด และใช้ในรูปแบบต่างๆ  เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และประกอบรายงาน
      สถานที่ที่มีการใช้เทคโนโลยี
นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้อินเตอร์เน็ตที่บ้าน และห้องสมุดของสถาบัน

นักศึกษามีการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีที่น้อยคือ
       ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การเรียนรู้แบบออนไลน์

วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555



คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์

                นางสาวเกษฎา  โยธิน  รหัสนักศึกษา 554101023  ภาษไทยหมู่ 1

วันที่ 18 มิถุนายน 2555



ความหมายและความสำคัญของสารสนเทศ

        สารสนเทศ  หมายถึง ข่าวสารที่สำคัญ เป็นระบบข่าวสารที่กำหนดขึ้น และจัดทำขึ้นภายในองค์กรต่างๆ ตามความต้องการของเจ้าของ
        สารสนเทศ  ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า Information   หมายถึง ความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าสารสนเทส เป็นความรู้ และข่าวสารที่สำคัญที่มีลักษณะพิเศษ ทั้งในด้นการได้มา และประโยชน์ในการนำไปใช้

     ความหมายต่างของสารสนเทศ

           สารสนเทศ หมายถึงข้อมูลทั้งด้านปริมาณ และคุณภาพ ทีประมวลจัดหมวดหมู่เปรียบเทียบ และวิเคราะห์ และสามารถนำไปใช้ได้ หรือนำมาประกอบการพิจารณาได้สดวก และง่าย
       
   เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ IT  เป็นเทคโนโลยที่มีความสำคัญต่อสังคมในปัจจุบันมีความหมายเกี่ยวข้องกับการวัดผล การประเมินผล และการแสดงผลสารสนเทศ
 

  I   Information
 C   Commanication
 T   Tecnoiogry

   องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ  ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม

     1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
   คอมพิวเตอร์ จัดเป็นเทคโนโลยีหลักในปัจจุบัน เนื่องจากมีคุณสมบัติครบถ้วน บันทึก การจัดเก็บ การประมวลผล การแสดงผล และการสืบค้นหาข้อมูล  แบ่งออกเป็น  2 ส่วน คือ ฮาร์แวร์ และ ซอฟต์แวร์

       ฮาร์แวร์ เป็นอุปกรณ์ทุกชนิดที่ประกอบขึ้นเป็นตัวคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์พ่วง เชื่อมโยง จำแนกออกเป็น 4 ส่วน คือ
1. หน่วยรับข้อมูล
2. หน่วยประมวลผลกลาง CPU
3. หน่วยแสดงผลข้อมูล
4. หน่วยความจำสำรอง


      ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่ให้คอมพิวเตอร์ ทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการ                                              
1. ซอฟต์แวร์ระบบ  เป็นชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ทำงานตามคำสั่ง
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์  เป็นชุดคำสั่งที่ผู้ใช้สั่งเข้าไปในคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการ

      2. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
เทคโนโลยีโทรคมนาคม หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกันทั่วไป เช่น ระบบโทรทัศน์ ระบบดาวเทียม ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และระบบสื่อสารอื่นๆ ที่ใช้ในการสื่อสารกัน

       ความสำคัญ

- แผนพัฒนาฉบับที่ 4 ( 2520-2524 ) การมีส่วนร่วมของสารสนเทศเพื่อการศึกษา  มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงาน และปฎิบัติการของสารสนเทศ
- แผนพัฒนาฉบับที่ 8   ก็ได้เห็นความสำคัญของเทคโยโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษามากขึ้น
- แผนพัฒนาฉบับที่ 9  มีการจัดทำ แผนหลักเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการศึกษา
       แผนพัฒนาข้างต้นทำให้เทคโนโลยสารสนเทศมีความสำคัญต่อการศึกษาของประเทศไทยมากขึ้น เพราะจะทำให้การศึกษาของชาติมีความทัดเทียดกัน และทั่วถึง มีคุณภาพ และมีความต่อเนื่อง ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยการประยุกต์ใช้เทคโน,ยีสารสนเทศอย่างคุ้มค่า

    การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา

ยุคที่ 1 ประมวลผลข้อมูล มีวัตถุประสงค์เพื่อคำนวณ และประมวลผลข้อมูลของรายการประจำ เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านบุคคล

ยุคที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการตัดสินใจ ควบคุมดำเนินการ ติดตามผล และวิเคราะห์ผลงานของผู้บริหารในระดับต่างๆ

ยุคที่ 3 การจัดการทรัพยาการสารสนเทศมีการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเรียกใช้สารสนเทศที่จะช่วยในการตัดสินใจ นำหน่วยงานไปสู่ความสำเร็จ

ยุคที่ 4 ยุคปัจจุบัน หรือยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคม เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดทำระบบสารสนเทศ และเน้นความมคิดของการใช้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้อย่างมีประสิทธิ์ภาพ เป็นวัตถุประสงค์สำคัญ ( เน้นการบริการ )


ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ให้ความรู้ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ
2. ใช้ในการวางแผน และการบริหารงาน
3.ใช้ประกอบการตัดสินใจ
4.ใช้ควบคุมสถานการณ์ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
5. เพื่อให้การบริหารงานมีระบบ

สรุป
     การนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ในวงการศึกษามีปริมาณที่เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากแพร่กระจายอย่างรวดเร็วของอุปกรณืเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ เช่นดาวเทียมสื่อสาร ใยแก้วนำแสง อินเตอร์เน็ต ก่อให่เกิดระบบคอมพิวเตอร์สำหรับการบริหารงานในสถานศึกษาด้านต่างๆ เช่น ระบบบริหารการจัดการห้องสมุด และระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ยังช่วยให้เกิดการลดความเลื่อมล้ำของโอกาศในการศึกษา การเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ทางด้านเทคโนโลยี


วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555

วันที่ 30 /07/2555ซอฟต์แวร์ประยุกต์

วันที่ 30 /07/2555
ซอฟต์แวร์ประยุกต์  (Application Software)

2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

           ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น

ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิด  จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1.
ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software
)
2.
ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ packaged  Software และโปรแกรมมาตรฐาน
 (Standard Package)ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
 
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน  จำแนกออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้
 1.
กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ Business
2.
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย
  Graphic and Multimedia
3.
กลุ่มการใช้งานบนเว็บ wed
กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ Business
        ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังในด้านการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร การนำเสนองาน และการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น

-
โปรแกรมประมวลผลคำ อาทิ Microsoft Word , Sun Star Office Writer
-
โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ
  Microsoft Excel , Sun  Star Office Cals
-
โปรแกรมนำเสนอ อาทิ Microsoft  PowerPoint,  Sun  Star Office Impress
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย  Graphic and Multimedia
       ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช้วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดีย  เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดภาพ ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว และการสร้างและออกแบบเว็บไซต์  ตัวอย่างเช่น

-
โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio  , Professional
-
โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ
  Corel IDRAW, Adobe Photoshop
-
โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ และเสียง อาทิ
  Adobe Premiere, Pinnacie Studio DV
-
โปรแกรมสร้างสือมัลติมีเดีย  อาทิ
Adobe Authorware , Toolbook Instructor. Adobe Director
-
โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash, Adobe  Dreamweaver

 กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
      เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่นโปรแกรมการตรวจเซ็คอีเมล  การท่องเว็บ การจัดการการดูแลเว็บ การส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างเช่น

-
โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft Dutlook, Mozzila THunderdird
-
โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ
Microsoft Internet Explorer, Mozzila Firefox
-
โปแกรม ประชุมทางไกล ( Video Confernce) อาทิ Microsoft Netmeeting
-โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Internet  Messaging) อาทิ MSN  Messager/ Windows Messager, ICQ
-
โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ  PIRCH , MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์

            
การใช้ภษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้ จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอั้กษรื เป็นประโยคข้อความ  ภาษาในลักษณะดังกล่าว นี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดัยสูง     ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความหมายเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
           
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง
     
ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว  เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฎิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า  ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ ในแต่ละยุค ประกอบด้วย
   
ภาษาเครื่อง
     
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบตัวเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่ง และใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ ว่า ภาษาเครื่อง

         
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก  เพราะเข้าใจ และจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาเครื่องขึ้น

ภาษาแอสเซมบลี
    เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่  2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี ช่วยลดความยุ่งยากในการเขียโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพืวเตอร์
      แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลี ก็ยังมีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษา ที่เรียกว่า ภาษาแอสเซมเลอร์

  ภาษาระดับสูง   ( High-Level Languages )
    เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า   Statements  ที่มีลักษณะที่เป็นประโยคภาษาอังกฤษ  ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุด คำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น  ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้ และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงกับภาษามนุษย์  ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้น มีอยู่ 2 ชนิด คือ
คอมไพเลอร์  ( Compiler ) และ   อินเทอร์พรีเตอร์   ( Interpreter )


คอมไพเลอ  จะทำการแปลโปแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้งจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น

อินเตอร์พรีเตอร์   จะทำการแปลทีละคำสั่งบ  แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป

    ข้อแตกต่าง   คอมไพเลอร์ กับอินเตอร์พรีเตอร์ จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรม หรือแปลทีละคำสั่ง


เขียนโดย pimchanok somsamai ที่ 1:20 ไม่มีความคิดเห็น:
วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์

       คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆสามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ คือมีศักยภาพสูงในการคำนวรประมวลผลข้อมูล ทั้งที่เป็นตัวเลข รูปภาพ และเสียง
ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ฮาร์แวร์
หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น5ส่วน คือ
ส่วนที่1หน่วยรับข้อมูลเข้า (input unit)
  เป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมต่อ ทำหน้าที่เป็นสัญญาณเข้าสู่ระบบ เพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการ ได้แก่
-เป็นอักขระ(keyboard)
-แผ่นซีดี(CD-Rom)
-ไมโครโฟน(Microphone)เป็นต้น
ส่วนที่ 2 หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit) – CPU
          ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางดารรกและคณิตศาสตร์ รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งได้รับ
ส่วนที่ 3 หน่วยความจำ  (Memory Unit)
          ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่มาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลแล้วเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดง
 ส่วนที่ 4 หน่วยแสดงผล (Output Unit)
           ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านการคำนวณแล้ว
ส่วนที่5 อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ (Peripphral Equipment) 
          เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยประสิทธิในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น เช่น   โม (moclem) แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นต้น
  ประโยชน์คอมพิวเตอร์
1.มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้รวดเร็วชั่ววินาที จึงใช้งานคำนวณต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว
2.มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง ทำงานได้ตลอด 24 ชั่วโมง ใช้แทนกำลังคนได้มาก
3.มีความถูกต้องแม่นยำ ตามโปรแกรมสั่งงานและข้อมูลที่ใช้
4.เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร
5.สามารถโอนย้ายมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอักเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งผ่านระบบเครือข่ายได้อย่างรวดเร็ว ช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน
   ระบบคอมพิวเตอร์
        หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆกับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ ตามความประสงค์ของผู้ใช้งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี ระบบทะเบียนราษฎร์  ระบบทะเบียนการค้า ระบบเวช ระบบของโรงพยาบาล  เป็นต้น
       การเข้าถึงขอมูลเหล่านี้ สามารถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบจากการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
   องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
       ระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ จะประกอบด้วยส่วนสำคัญ 4 ส่วน ดังนี้
1.     ฮาร์แวร์  (Hardware) หรือส่วนเครื่อง
2.     ซอฟต์แวร์ (Software) หรือส่วนเครื่อง
3.     ข้อมูล Data
4.     บุคลากร People
ฮาร์แวร์ (Hardware) = ตัวเครื่องและอุปกณ์ส่วนต่างๆที่เราสามารถสัมผัสและจับต้องได้ ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 4 ส่วน ดังนี้ คือ
1.       ส่วนประมวลผล (Processor)
2.       ส่วนความจำ (Memory)
3.       อุปกรณ์รับเข้าและส่งออก (lnput Outpot Devices)
4.       อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูล (s.to

ส่วนที่ 1
         CPU  อุปกรณ์ฮาร์แวร์ที่เปรียบเสมือนสมอง มีหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ประมวลผลและเปรียบเทียบข้อมูลโดยการเปลี่ยนแปลงข้อมูลดิบและให้เป็นสารสนเทศที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ความสามารถของ CPU นั้นพิจารณาจากความเร็วของการทำงาน การรับส่งข้อมูล อ่านเขียนข้อมูลในหน่วยความจำ ความเร็วของซีพียู ขึ้นอยู่กับตัวให้จังหวะที่เรียกว่า สัญญาณนาฬิกา เป็นความเร็วจำนวนรอบสัญญาณใน 1 วินาที เทียบกว่าความเร็วสัญญาณนาฬิกา 1 ลิกะเฮิร์ตซ์
ส่วนที่ 2 หน่วยความจำ (Memory)
1.       หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
2.       หน่วยความจำสำรอง (Seconday Storage)
3.       หน่วยเก็บข้อมูล

1.       หน่วยความจำหลัก]
แบ่งได้ 2 ประเภท คือ หน่วยความจำแบบ แรม(Ram) และหน่วยความจำ แบบ รอม(Rom)
1.1            หน่วยความจำแบบ แรม
(RAM = Random Access Memory) เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศักระแสความจำที่ใช้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่ถาวรไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่ป้อนให้วงจร ยอมให้ใช้ชีพียูอ่านข้อมูลหรือโปรแกรมใช้งานอย่างเดียวไม่สามารถเขียนข้อมูลลงไปเก็บไว้ได้ง่าย ส่วนใหญ่ใช้เก็บโปรแกรมควบคุม เราเรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่า หน่วยความจำแบบไม่ลบเลือน
(Nonvolatile Memory)

2.       หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำชนิดนี้มีไว้สำรองหรือทำงานข้อมูลและโปรแกรมขนาดใหญ่ เนื่องจากขนาดของหน่วยความจำหลักมี จำกัด หน่วยความจำสำรองสามารถเก็บไว้  ได้หลายแบบ เช่น แผ่นทึก (Floppy Disk)
จานบันทึกแบบแข็ง (Hard Didk) แผ่นซีดีรอม (CD-ROM)จานแสงแม่เหล็ก