วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2555
หน่วยที่ 5 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบ Network และ Internet (06/08/55)
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้
การทำงานของระบบ Network และ Internet
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. เครือข่ายเฉพาะที่ ( Local Area Network : LAN ) เป็นเครือข่ายที่มักพบในองค์กรโดนส่วนใหญ่ ลักษณะการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง LAN จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆ กัน เช่น อยู่ภายในอาคาร หรือ หน่วยงานเดียวกัน
2. เครือข่ายการเมือง ( Metropolitan Area Network : MAN ) เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อยมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภายในบรเวณพื้นที่ใกล้เคียง เช่นในเมืองเดียวกันเป็นต้น
3. เครือข่ายบริเวณกว้าง ( Wide Area Network : WAN ) เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับโดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง LAN และ MAN มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน ดังนั้นเครือข่ายนี้ จึงครอบคลุมพื้นที่กว้าง โดยมีการครอบคลุมไปทั่วประเทศ หรือทั่วโลก เช่น อินเตอร์เน็ต ซึ่งถือเป็นเครื่อข่ายสาธารณะที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ
รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย Network Topology
การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์ และการเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย รวมถึงหลักการไหลเวียนข้มูลในเครือข่ายด้วย โดย แบ่งโครงสร้างเครือข่ายหลักได้ 4 แบบ คือ
1. แบบดาว ( Star Network ) เป็นการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆ มาต่อรวมกันเป็นหน่วยสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดดต่อผ่สนทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกัยศูนย์กลาง
การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์ และการเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย รวมถึงหลักการไหลเวียนข้มูลในเครือข่ายด้วย โดย แบ่งโครงสร้างเครือข่ายหลักได้ 4 แบบ คือ
1. แบบดาว ( Star Network ) เป็นการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆ มาต่อรวมกันเป็นหน่วยสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดดต่อผ่สนทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกัยศูนย์กลาง
ลักษณะการทำงาน
เป็นการเชื่อมโยงสื่อสารคล้ายดาวหลายแฉก โดยมีสถานีกลาง หรือฮับ เป็นจุดผ่านการติดต่อ กันทุกโหนดในเครือข่าย สถานีกลางจึงมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด และยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจัดส่งข้อมูลให้กับโหนดปลายทางอีกด้วย การสื่อสารจัดเป็น 2 ทิศทางโดยจะอณุญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายได้ จึงไม้มีโอกาศที่หลายๆ โหนดจะส่งข้อมูลเข่าสู่เครือข่ายในเวลาเดียวกัน เพื่อป้องกันการชนกันของสัณญาณข้อมูล เครือข่ายแบบบดาว เป็นรูปแบบเครือข่ายหนึ่งที่เป็นที่นิยมกันในปัจจุบัน
2. แบบวงแหวน ( Ring Network ) เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับเครือข่ายสัญญารของตัวเองโดยจะมีการเชื่อมโยง ของสัญญาณของทุกสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน เครือข่านสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่มนการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเอง หรือจากเครือข่ายสัญญาณตัวก่อนหน้า และส่งข้อมูลต่อไปยังเครือข่ายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อยๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด
เป็นการเชื่อมโยงสื่อสารคล้ายดาวหลายแฉก โดยมีสถานีกลาง หรือฮับ เป็นจุดผ่านการติดต่อ กันทุกโหนดในเครือข่าย สถานีกลางจึงมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด และยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจัดส่งข้อมูลให้กับโหนดปลายทางอีกด้วย การสื่อสารจัดเป็น 2 ทิศทางโดยจะอณุญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายได้ จึงไม้มีโอกาศที่หลายๆ โหนดจะส่งข้อมูลเข่าสู่เครือข่ายในเวลาเดียวกัน เพื่อป้องกันการชนกันของสัณญาณข้อมูล เครือข่ายแบบบดาว เป็นรูปแบบเครือข่ายหนึ่งที่เป็นที่นิยมกันในปัจจุบัน
2. แบบวงแหวน ( Ring Network ) เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับเครือข่ายสัญญารของตัวเองโดยจะมีการเชื่อมโยง ของสัญญาณของทุกสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน เครือข่านสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่มนการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเอง หรือจากเครือข่ายสัญญาณตัวก่อนหน้า และส่งข้อมูลต่อไปยังเครือข่ายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อยๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด
3.เครือข่ายแบบบัส ( Bus Network ) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่ยๆๆ โดยจะมีอุปกรณืที่เป็นตัวเชื่อมต่ออุปกรณืเข้ากับสายเคเบิล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้ จะต้องกำหนดวิธี ที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกัน เพราะจะทำให้ข้อมูลชนกันลา หรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่ สัญญาณที่แตกต่างกัน ในการติดตั้งเครือข่ายแบบบัสนี้ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์แต่ละชนิด ถ฿กเชื่อมต่อมต่อด้วยสายเคเบิ้ลเพียงเส้นเดียว
อุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนด ในเครือข่ายต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียก ว่า บัศ BUS เมื่อโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปให้ยังอีกโหนดหนึ่ง ภายในเครือข่าย จะต้องตรวจสอบว่าบัสง่างหรืไม่ ข้อมูลจะวิ่งผ่านโหนดไปเรื่อยๆๆ ในขณะที่แต่ละโหนดก็จะตรวจสอบว่าเป็นว่าเป็นของตนเองหรืไม่หากไม่ใช่ก็จะปล่อยให้วิ่งไปเรื่อยๆๆ
4.เครือข่ายแบบต้นไม้ ( Tree Network ) เป็นเครือข่ายที่มีการผสมผสานโครงสร้างเครือข่ายแบบต่างๆ เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงได้ทุกสถานี การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆ ได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม รับส่งข้อมูลเดียวกัน
การประยุกต์ใช้งานของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสาร และการแบ่งปันการใช้ทรัพยากรระหว่างเครือข่าย รูปแบบการใช้งาน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1. ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง ( Centrallised Network )
2.ระบบเครือข่ายแบบ ( Pee-to Pee)
3. ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server
ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสาร และการแบ่งปันการใช้ทรัพยากรระหว่างเครือข่าย รูปแบบการใช้งาน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1. ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง ( Centrallised Network )
2.ระบบเครือข่ายแบบ ( Pee-to Pee)
3. ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server
1. ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง ( Centrallised Network ) เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล ตั้งอยู่ที่ศูนย์กลาง และมีการรรเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆ ใช้การเดินสายเคเบิ้ล เชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเทอร์มินนอลสมารถสเข้าใช้งานโดยคำสั่งต่าง มาประมวลผลที่เครื่องกลาง ซึ่งมักเป็นเครืองคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง
2.ระบบเครือข่ายแบบ ( Pee-to Pee ) แต่ละสถานีงานบนระบบเครือข่ายสถานีเจะเท่าเทียมกัน สามรถที่จะแบ่งบันทรัพยากรให้แก้กันและกันได้ เช้นการใช้เครื่องพิมพ์ หรือ แฟ้มข้อมูลร้วมกันในเครือข่ายนั้นๆ เครื่องแต่ละเคื่องมีขีด และความสารถได้ด้วยตนเอง คือจะมีทรัพยากรภายในตัเอง เช่น ดิสก์สำหลับเก็บข้อมูล หน่วยความจำที่เพียงพอ
3. ระบบเครือข่ายแบบ ( Client/Server ) สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และสามรถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายสถานี ทำง่นโดยมีเครื่อง Server ที่ให้บริการเป็นศูนย์กลางอย่างน้อย 1 เครื่อง และมีการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ จากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง แต่สิ่งที่แตกต่างกันคือ เครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการในระบบ Client/Server ราคาไม่แพงมากนัก ซึ่งอาจใช้เพียงเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ สมถนะสูงในการควบคุมการให้บริการ ทรัพยากรต่างๆ
นอกจากนี้เครื่องลูกข่ายยังจะต้องมีความสามรถในการประมงลผล และมีพื้นที่สำหลับเก็บข้อมูลท้องถิ่นเป็นของตัวเอง
ระบบเครื่อข่ายแบบClient/Server เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่น สนับสนุนการทำงานแบบ Multiprocessor สามารถเพิ่มขยายขนาดของจำนวนผู้ใช้ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวนเครื่องได้
นอกจากนี้เครื่องลูกข่ายยังจะต้องมีความสามรถในการประมงลผล และมีพื้นที่สำหลับเก็บข้อมูลท้องถิ่นเป็นของตัวเอง
วันที่ 30 /07/2555
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิด จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software)
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ packaged Software และโปรแกรมมาตรฐาน (Standard Package)
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จำแนกออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้
1. กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ Business
2. กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย Graphic and Multimedia
3. กลุ่มการใช้งานบนเว็บ wed
กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ Business
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังในด้านการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร การนำเสนองาน และการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น
-โปรแกรมประมวลผลคำ อาทิ Microsoft Word , Sun Star Office Writer
-โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ Microsoft Excel , Sun Star Office Cals
-โปรแกรมนำเสนอ อาทิ Microsoft PowerPoint, Sun Star Office Impress
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย Graphic and Multimedia
-โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio , Professional
-โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ Corel IDRAW, Adobe Photoshop
-โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ และเสียง อาทิ Adobe Premiere, Pinnacie Studio DV
-โปรแกรมสร้างสือมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware , Toolbook Instructor. Adobe Director
-โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash, Adobe Dreamweaver
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่นโปรแกรมการตรวจเซ็คอีเมล การท่องเว็บ การจัดการการดูแลเว็บ การส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างเช่น
-โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft Dutlook, Mozzila THunderdird
-โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer, Mozzila Firefox
-โปแกรม ประชุมทางไกล ( Video Confernce) อาทิ Microsoft Netmeeting
เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่นโปรแกรมการตรวจเซ็คอีเมล การท่องเว็บ การจัดการการดูแลเว็บ การส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างเช่น
-โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft Dutlook, Mozzila THunderdird
-โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer, Mozzila Firefox
-โปแกรม ประชุมทางไกล ( Video Confernce) อาทิ Microsoft Netmeeting
-โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Internet Messaging) อาทิ MSN Messager/ Windows Messager, ICQ
-โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ PIRCH , MIRCH
-โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ PIRCH , MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
การใช้ภษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้ จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอั้กษรื เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าว นี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดัยสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความหมายเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
การใช้ภษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้ จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอั้กษรื เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าว นี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดัยสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความหมายเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง
ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฎิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง
ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฎิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ ในแต่ละยุค ประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบตัวเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่ง และใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ ว่า ภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจ และจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาเครื่องขึ้น
ภาษาเครื่อง
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบตัวเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่ง และใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ ว่า ภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจ และจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาเครื่องขึ้น
ภาษาแอสเซมบลี
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี ช่วยลดความยุ่งยากในการเขียโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพืวเตอร์
แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลี ก็ยังมีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษา ที่เรียกว่า ภาษาแอสเซมเลอร์
ภาษาระดับสูง ( High-Level Languages )
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะที่เป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุด คำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้ และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้น มีอยู่ 2 ชนิด คือ
คอมไพเลอร์ ( Compiler ) และ อินเทอร์พรีเตอร์ ( Interpreter )
คอมไพเลอ จะทำการแปลโปแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้งจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเตอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่งบ แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป
ข้อแตกต่าง คอมไพเลอร์ กับอินเตอร์พรีเตอร์ จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรม หรือแปลทีละคำสั่ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น