วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555

วันที่ 30 /07/2555ซอฟต์แวร์ประยุกต์

วันที่ 30 /07/2555
ซอฟต์แวร์ประยุกต์  (Application Software)

2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

           ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น

ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิด  จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1.
ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software
)
2.
ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ packaged  Software และโปรแกรมมาตรฐาน
 (Standard Package)ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
 
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน  จำแนกออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้
 1.
กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ Business
2.
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย
  Graphic and Multimedia
3.
กลุ่มการใช้งานบนเว็บ wed
กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ Business
        ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังในด้านการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร การนำเสนองาน และการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น

-
โปรแกรมประมวลผลคำ อาทิ Microsoft Word , Sun Star Office Writer
-
โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ
  Microsoft Excel , Sun  Star Office Cals
-
โปรแกรมนำเสนอ อาทิ Microsoft  PowerPoint,  Sun  Star Office Impress
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย  Graphic and Multimedia
       ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช้วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดีย  เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดภาพ ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว และการสร้างและออกแบบเว็บไซต์  ตัวอย่างเช่น

-
โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio  , Professional
-
โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ
  Corel IDRAW, Adobe Photoshop
-
โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ และเสียง อาทิ
  Adobe Premiere, Pinnacie Studio DV
-
โปรแกรมสร้างสือมัลติมีเดีย  อาทิ
Adobe Authorware , Toolbook Instructor. Adobe Director
-
โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash, Adobe  Dreamweaver

 กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
      เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่นโปรแกรมการตรวจเซ็คอีเมล  การท่องเว็บ การจัดการการดูแลเว็บ การส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างเช่น

-
โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft Dutlook, Mozzila THunderdird
-
โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ
Microsoft Internet Explorer, Mozzila Firefox
-
โปแกรม ประชุมทางไกล ( Video Confernce) อาทิ Microsoft Netmeeting
-โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Internet  Messaging) อาทิ MSN  Messager/ Windows Messager, ICQ
-
โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ  PIRCH , MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์

            
การใช้ภษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้ จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอั้กษรื เป็นประโยคข้อความ  ภาษาในลักษณะดังกล่าว นี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดัยสูง     ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความหมายเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
           
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง
     
ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว  เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฎิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า  ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ ในแต่ละยุค ประกอบด้วย
   
ภาษาเครื่อง
     
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบตัวเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่ง และใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ ว่า ภาษาเครื่อง

         
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก  เพราะเข้าใจ และจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาเครื่องขึ้น

ภาษาแอสเซมบลี
    เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่  2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี ช่วยลดความยุ่งยากในการเขียโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพืวเตอร์
      แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลี ก็ยังมีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษา ที่เรียกว่า ภาษาแอสเซมเลอร์

  ภาษาระดับสูง   ( High-Level Languages )
    เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า   Statements  ที่มีลักษณะที่เป็นประโยคภาษาอังกฤษ  ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุด คำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น  ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้ และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงกับภาษามนุษย์  ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้น มีอยู่ 2 ชนิด คือ
คอมไพเลอร์  ( Compiler ) และ   อินเทอร์พรีเตอร์   ( Interpreter )


คอมไพเลอ  จะทำการแปลโปแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้งจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น

อินเตอร์พรีเตอร์   จะทำการแปลทีละคำสั่งบ  แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป

    ข้อแตกต่าง   คอมไพเลอร์ กับอินเตอร์พรีเตอร์ จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรม หรือแปลทีละคำสั่ง


เขียนโดย pimchanok somsamai ที่ 1:20 ไม่มีความคิดเห็น:
วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์

       คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆสามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ คือมีศักยภาพสูงในการคำนวรประมวลผลข้อมูล ทั้งที่เป็นตัวเลข รูปภาพ และเสียง
ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ฮาร์แวร์
หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น5ส่วน คือ
ส่วนที่1หน่วยรับข้อมูลเข้า (input unit)
  เป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมต่อ ทำหน้าที่เป็นสัญญาณเข้าสู่ระบบ เพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการ ได้แก่
-เป็นอักขระ(keyboard)
-แผ่นซีดี(CD-Rom)
-ไมโครโฟน(Microphone)เป็นต้น
ส่วนที่ 2 หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit) – CPU
          ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางดารรกและคณิตศาสตร์ รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งได้รับ
ส่วนที่ 3 หน่วยความจำ  (Memory Unit)
          ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่มาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลแล้วเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดง
 ส่วนที่ 4 หน่วยแสดงผล (Output Unit)
           ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านการคำนวณแล้ว
ส่วนที่5 อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ (Peripphral Equipment) 
          เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยประสิทธิในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น เช่น   โม (moclem) แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นต้น
  ประโยชน์คอมพิวเตอร์
1.มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้รวดเร็วชั่ววินาที จึงใช้งานคำนวณต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว
2.มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง ทำงานได้ตลอด 24 ชั่วโมง ใช้แทนกำลังคนได้มาก
3.มีความถูกต้องแม่นยำ ตามโปรแกรมสั่งงานและข้อมูลที่ใช้
4.เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร
5.สามารถโอนย้ายมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอักเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งผ่านระบบเครือข่ายได้อย่างรวดเร็ว ช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน
   ระบบคอมพิวเตอร์
        หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆกับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ ตามความประสงค์ของผู้ใช้งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี ระบบทะเบียนราษฎร์  ระบบทะเบียนการค้า ระบบเวช ระบบของโรงพยาบาล  เป็นต้น
       การเข้าถึงขอมูลเหล่านี้ สามารถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบจากการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
   องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
       ระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ จะประกอบด้วยส่วนสำคัญ 4 ส่วน ดังนี้
1.     ฮาร์แวร์  (Hardware) หรือส่วนเครื่อง
2.     ซอฟต์แวร์ (Software) หรือส่วนเครื่อง
3.     ข้อมูล Data
4.     บุคลากร People
ฮาร์แวร์ (Hardware) = ตัวเครื่องและอุปกณ์ส่วนต่างๆที่เราสามารถสัมผัสและจับต้องได้ ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 4 ส่วน ดังนี้ คือ
1.       ส่วนประมวลผล (Processor)
2.       ส่วนความจำ (Memory)
3.       อุปกรณ์รับเข้าและส่งออก (lnput Outpot Devices)
4.       อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูล (s.to

ส่วนที่ 1
         CPU  อุปกรณ์ฮาร์แวร์ที่เปรียบเสมือนสมอง มีหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ประมวลผลและเปรียบเทียบข้อมูลโดยการเปลี่ยนแปลงข้อมูลดิบและให้เป็นสารสนเทศที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ความสามารถของ CPU นั้นพิจารณาจากความเร็วของการทำงาน การรับส่งข้อมูล อ่านเขียนข้อมูลในหน่วยความจำ ความเร็วของซีพียู ขึ้นอยู่กับตัวให้จังหวะที่เรียกว่า สัญญาณนาฬิกา เป็นความเร็วจำนวนรอบสัญญาณใน 1 วินาที เทียบกว่าความเร็วสัญญาณนาฬิกา 1 ลิกะเฮิร์ตซ์
ส่วนที่ 2 หน่วยความจำ (Memory)
1.       หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
2.       หน่วยความจำสำรอง (Seconday Storage)
3.       หน่วยเก็บข้อมูล

1.       หน่วยความจำหลัก]
แบ่งได้ 2 ประเภท คือ หน่วยความจำแบบ แรม(Ram) และหน่วยความจำ แบบ รอม(Rom)
1.1            หน่วยความจำแบบ แรม
(RAM = Random Access Memory) เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศักระแสความจำที่ใช้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่ถาวรไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่ป้อนให้วงจร ยอมให้ใช้ชีพียูอ่านข้อมูลหรือโปรแกรมใช้งานอย่างเดียวไม่สามารถเขียนข้อมูลลงไปเก็บไว้ได้ง่าย ส่วนใหญ่ใช้เก็บโปรแกรมควบคุม เราเรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่า หน่วยความจำแบบไม่ลบเลือน
(Nonvolatile Memory)

2.       หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำชนิดนี้มีไว้สำรองหรือทำงานข้อมูลและโปรแกรมขนาดใหญ่ เนื่องจากขนาดของหน่วยความจำหลักมี จำกัด หน่วยความจำสำรองสามารถเก็บไว้  ได้หลายแบบ เช่น แผ่นทึก (Floppy Disk)
จานบันทึกแบบแข็ง (Hard Didk) แผ่นซีดีรอม (CD-ROM)จานแสงแม่เหล็ก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น